มะม่วงหิมพานต์

มะม่วงหิมพานต์

มะม่วงไม่รู้หาว (ภาคกลาง), มะม่วงกุลา, มะม่วง ลังกา, มะม่วงสินหน, มะม่วงสิโห, มะม่วงหลอด (ภาคเหนือ), กาหยู, กาหยี, ท้ายล่อ, ตำหยาว, ยาร่วง, ยาโอย, กะแตแกล,  ถิ่นกำเนิดมะม่วงหิมพานต์ มะม่วงหิมพานต์เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาใต้ โดยเชื่อกันว่าน่าจะอยู่บริเวณประเทศบราซิล แล้วจึงมีการแพร่กระจายไปยังบริเวณภูมิภาคอื่นๆ ของโลก เช่น ในทวีปแอฟริกา อเมริกาเหนือ ยุโรป และทวีปเอเชีย สำหรับในทวีปเอเชียนั้น เมื่อประมาณศตวรรษที่ 16 ชาวโปรตุเกสได้นำเมล็ดมะม่วงหิมพานต์เข้ามาทดลองปลูกในประเทศอินเดีย…
จันทรเทศ

จันทน์เทศ

จันทน์บ้าน (ภาคเหนือ), ลูกจันทน์, ดอกจันทน์, หน่วยสาน, จันทน์ปาน (ทั่วไป), ปาลา (มลายู, มาเลเซีย), โหย่งโต้โต่, เหน็กเต่าโขว่ (จีน) ถิ่นกำเนิดจันทน์เทศ  จันทน์เทศมีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมอยู่ที่เกาะบันดา ในหมู่เกาะโมลุกกะ อันได้ชื่อว่าเป็นหมู่เกาะเครื่องเทศ ในประเทศอินโดนีเซีย และยังถือกันว่าจันทน์เทศเป็นพืชพื้นเมืองของหมู่เกาะนั้นอีกด้วย ต่อมาเมื่ออังกฤษเข้าครอบครองหมู่เกาะโมลุกกะจึงได้นำเมล็ดจันทน์เทศ ไปปลูกยัง สิงคโปร์ เกาะวินเซอร์ ทรินิแคด ปีนัง สุมตรา เกาะเกรนาดาในอเมริกาใต้ และในศรีลังกา เป็นต้น แล้วจึงมีการแพร่พันธุ์ไปยังพื้นที่ต่างๆ ทั่วเขตร้อนของโลก…
หมาก

หมาก

หมากหรือหมากเป็นผลไม้จากหมาก เดิมทีปาล์มมีถิ่นกำเนิดในฟิลิปปินส์ แต่ถูกนำไปใช้อย่างกว้างขวางในเขตร้อนโดยการอพยพและการค้าของชาวออสโตรนีเซียนตั้งแต่อย่างน้อย 1,500  ลักษณะภายนอกของเครื่องยา            ผลรูปไข่หรือรูปกระสวย กว้างประมาณ 5 ซม. ยาวประมาณ 7 ซม. ภายในมีเมล็ดเดียว หมากดิบหรือหมากสด เปลือกผลมีสีเขียวเข้มและเมล็ดนิ่มถึงค่อนข้างแข็ง หมากแห้ง อาจทำจากหมากดิบหรือหมากแก่ก็ได้ หมากแก่เปลือกผลมีสีเขียวปนเหลืองหรือเหลืองทั้งผล เนื้อภายในมีสีน้ำตาลแดง ขนาดประมาณ 3 ซม. หมากแห้งจากหมากแก่เรียกว่า “หมากสง” หมากแห้งมีรสฝาด  ลักษณะทางกายภาพและเคมีที่ดี ปริมาณความชื้นไม่เกิน 12% w/w …
สลอด

สลอด

บะกั้ง (แพร่) มะข่าง มะคัง มะตอด หมากทาง หัสคืน (ภาคเหนือ) ลูกผลาญศัตรู สลอดต้น หมากหลอด (ภาคกลาง) หมากยอง (แม่ฮ่องสอน) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์  ไม้พุ่ม สูง 3-6 ม. ต้นเกลี้ยง ใบเดี่ยวรูปไข่ เรียงสลับกัน ปลายใบแหลม ฐานใบกลม ขอบใบหยัก แบบซี่ฟัน มีเส้นใบ 3-5 เส้น ที่ฐานใบมีต่อม…
ดาวกระจาย

ดาวดระจาย

สมุนไพรดาวกระจาย มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า ดอกกระจาย (ไทย), แหลมนกไส้ หญ้าแหลมนกไส้ ปืนนกไส้ (ภาคเหนือ), ปังกุกโคหน่วย (จีน), กุ่ยเจินเฉ่า ผอผอเจิน (จีนกลาง) เป็นต้น สรรพคุณดาวกระจาย ช่วยกระจายลม ฟอกโลหิต (ทั้งต้น) ทั้งต้นดาวเรืองมีรสขม เป็นยาสุขุม ไม่มีพิษ โดยออกฤทธิ์ต่อกระเพาะอาหาร ลำไส้ ตับ และไต ใช้เป็นยาดับพิษร้อนถอนพิษไข้ (ทั้งต้น) ช่วยแก้ระบบทางเดินหายใจติดเชื้อ…
ถั่วลันเตา

ถั่วลันเตา

ถั่วลันเตา มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า ถั่วลันเตาเปลือกหนา ถั่วหวาน ถั่วแขก ถั่วลันเตา (ไทย), ถั่วน้อย (พายัพ) เป็นต้น ลันเตา หรือ ถั่วลันเตา เป็นผักที่คนทั่วโลกรู้จักเป็นอย่างดี เพราะมีการเพาะปลูกเพื่อใช้เป็นอาหารมานานหลายพันปีแล้ว  ลักษณะของถั่วลันเตา ถั่วลันเตา จัดเป็นพืชผักที่มีเถาเลื้อย มีความสูงได้ถึง 2 เมตร เป็นพืชฤดูเดียว ลำต้นเล็กและเป็นเหลี่ยม ส่วนรากเป็นระบบรากแก้ว สามารถขึ้นได้ในดินแทบทุกชนิดโดยเฉพาะดินร่วนปนเหนียว และควรเป็นดินที่ค่อนข้างมีความเป็นกรดเล็กน้อย เป็นพืชที่ชอบอากาศเย็นจึงปลูกได้ดีในช่วงฤดูหนาว สรรพคุณของถั่วลันเตา ยอดของถั่วลันเตามีเบตาแคโรทีนสูง…
บ๊วย

บ๊วย

บ๊วย เป็นผลไม้เมืองหนาวที่มีแหล่งกำเนิดในประเทศจีน ต่อมาภายหลังได้แพร่กระจายไปหลายประเทศ เช่น ประเทศญี่ปุ่น ไทย ลาว พม่า เวียดนาม ไต้หวัน ฯลฯ สำหรับในประเทศไทยมีการเพาะปลูกกันมานานแล้ว โดยได้แพร่เข้ามาทางภาคเหนือ เช่น จังหวัดเชียงราย ลักษณะของบ๊วย ต้นบ๊วย จัดเป็นไม้ผลยืนต้นที่สามารถเพาะปลูกได้ง่าย ไม่ต้องการการดูแลเอาใจใส่มากนัก มีโรคและแมลงรบกวนน้อย และให้ผลผลิตสูงตามอายุและขนาดลำต้น โดยต้องการอุณหภูมิในการปลูกต่ำประมาณ 7.2 องศาเซลเซียสหรือต่ำกว่านั้น สามารถเจริญเติบโตได้ในดินทุกประเภท และขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเสียบกิ่งหรือด้วยวิธีการปักชำ สรรพคุณของบ๊วย โอวบ๊วยมีรสเปรี้ยว ฝาด และสุขุม…
ตะบูนดำ

ตะบูนดำ

สมุนไพรตะบูนดำ มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า ตะบูน ตะบัน (ภาคกลาง, ภาคใต้) เป็นต้น ลักษณะของตะบูนดำ ต้นตะบูนดำ จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ มีความสูงประมาณ 20-35 เมตร ลักษณะของต้นเป็นรูปทรงยอดเป็นพุ่มกลม เป็นไม้ผลัดใบ ลำต้นเป็นเปลาตรง ส่วนโคนต้นเป็นพูพอนเล็กน้อย เปลือกต้นขรุขระ มีสีน้ำตาลเข้ม แตกเป็นร่องตามยาว ต้นเมื่อแก่เปลือกจะลอกเป็นแถบแคบ ๆ โดยเปลือกจะมีความหนาประมาณ 0.3-0.5 เซนติเมตร ส่วนเนื้อไม้มีสีน้ำตาล ส่วนระบบราก มีรากหลายลักษณะ…
แมงลัก

แมงลัก

สมุนไพรแมงลัก มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า ก้อมก้อข้าว (ภาคเหนือ), มังลัก อีตู่ (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) เป็นต้น แมงลักเป็นพืชล้มลุกในสกุลกะเพราและโหระพา ลักษณะของต้นจะคล้ายกับต้นกะเพรา ต่างกันที่กลิ่นและสีใบจะอ่อนกว่า มีลำต้นสูงประมาณ 30-80 เซนติเมตร มีกลิ่นหอมทุกส่วน โทษของแมงลัก การรับประทานเม็ดแมงลักในปริมาณมาก ๆ อาจจะเกิดอาการแน่นท้องรู้สึกไม่สบายตัวได้ การรับประทานเม็ดแมงลักในขณะที่ยังพองตัวไม่เต็มที่ อาจจะเกิดการดูดน้ำจากกระเพาะอาหารทำให้เม็ดแมงลักจับตัวกันเป็นก้อนและอุดตันในลำไส้ ซึ่งอาจทำให้ท้องผูกได้เช่นกันถ้ารับประทานแบบผิดวิธี ไม่ควรรับประทานเม็ดแมงลักพร้อมกับกับยาอื่น ๆ เพราะจะมีผลทำให้ร่างกายดูดซึมยาเหล่านั้นได้ไม่ดีและน้อยลง ดังนั้นควรทานยาก่อนสักประมาณ 15-30 นาทีแล้วค่อยรับประทานเม็ดแมงลักตาม สำหรับผู้ที่ต้องการลดน้ำหนัก …
สมุนไพรเป็นอาหารเสริม

สมุนไพรเป็นอาหารเสริม

สมุนไพรมักมีรสชาติที่หลากหลายตามชนิดของพืชและส่วนประกอบต่าง ๆ ที่ใช้ในการทำ ตั้งแต่รสชาติหวานจนถึงรสชาติขมหรือเปรี้ยวกว่ากัน ตัวอย่างเช่น หมากเขียวมีรสชาติหวานเบาๆ  อาหารเสริม คือ อาหารเสริมคือผลิตภัณฑ์ที่ออกแบบมาเพื่อเสริมสร้างหรือเสริมค่าทางอาหารในร่างกาย เพื่อช่วยให้ร่างกายสามารถทำงานได้ดียิ่งขึ้นหรือป้องกันการเกิดโรคในระดับที่เหมาะสม โดยอาหารเสริมส่วนใหญ่จะมีอยู่ในรูปแบบของเม็ด แคปซูล แท็บเล็ต ผง หรือสารเหลว ซึ่งสามารถรับประทานเข้าไปในร่างกายได้ง่ายและสะดวก ช่วยเสริมสร้างสุขภาพหรือป้องกันโรค เช่น เสริมวิตามิน, แร่ธาตุ, กรดไขมัน, โปรตีน, หรือสารอาหารอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับการทำงานของร่างกายในปริมาณที่เพียงพอ ตัวอย่างสมุนไพรที่เป็นอาหารเสริม 1.กระเทียมเป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากสารสกัดจากกระเทียม ซึ่งมักนำมาใช้เพื่อรับประทานเพิ่มเติมสารสำคัญที่พบในกระเทียม เช่น อัลลิซิน,…